Dr Theater General ปจ.1 ปจ.2 เรื่องที่เราควรรู้จัก

ปจ.1 ปจ.2 เรื่องที่เราควรรู้จัก

ปจ.1 ปจ.2 เรื่องที่เราควรรู้จัก post thumbnail image

ปัจจุบันนั้นการใช้เครื่องทุนแรงนั้นเป็นเรื่องที่ปกติอย่างมากภายในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และ ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมในด้านใด ๆ ก็ตามก็จะต้องมีเครื่องทุนแรงที่หลากหลาย ซึ่งในอุตสาหกรรมการก่อสร้างเองก็มีเครื่องทุ่นแรงที่หลากหลายอย่างมากด้วยเช่นกัน ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ “ปั่นจั่น” ที่เป็นอีกหนึ่งในเครื่องทุ่นแรงอย่างมาก แต่ว่าในบทความนี้เราจะพาทุกคนไปรู้จักกับการตรวจ ปจ.1 และ ตรว ปจ.2 กันเพื่อให้ทุกคนได้รับทำความเข้าใจมากขึ้น

ปันจั่นคืออะไร ?

            ปั่นจั่น หรือ เครน คือ เครื่องจักรกลที่ใช้สำหรับยกสิ่งของในงานอุตสาหกรรม งานก่อสร้าง โดยจะยกขึ้นตามแนวดิ่ง และ เคลื่อนย้ายลอยไปตามแนวราบ โดยปั่นจั่นนั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด นั้นคือ ปั่นจั่นที่อยู่กับที่ และ ปั่จจั่นที่เคลื่อนที่

  • ปั่นจั่นชนิดเคลื่อนที่ : หมายถึงปั่นจั่นที่ประกอบด้วยอุปุกรณ์ควบคุม และ เครื่องต้นกำลังภายในตัว โดยปั่นจั่นชนิดเคลื่อนที่นั้นจะติดอยู่บนพาหะนะที่สามารถเคลื่อนที่ได้นั้นเอง
  • ปั่นจั่นชนิดอยู่กับที่ : หมายถึงปั่นจั่นที่ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุม และ เครื่องต้นกำลังอยู่ในตัว ซึ่งปั่นจั่นชนิดนี้มักจะติดตั้งอยู่บนหอสูง บนล้อเลื่อน หรือ ขาตั้ง

จ.1 และ ปจ.2 คืออะไร

            การตรวจสอบคุณภาพนั้นเป็นอีกหนึ่งในความสำคัญของการควบคุม และ ตรวจสอบ โดยปั่นจั่นนั้นจะมีการตรวจสอบ และ มี 2 รูปแบบนั้นคือ ปจ.1 และ ปจ.2 ซึ่งเป็นคำย่อของของการตรวจสอบคุณภาพของปั่นจั่น

  • ปจ.1 คือ : การตรวจสอบปั่นจั่นชนอิดอยู่กับที่ ยกตัวอย่างเช่น  ทาวเวอร์เครน รอกยกสิ่งของ ลิฟต์ขนส่ง
  • ปจ.2 คือ : การตรวจสอบปั่นจั่นที่สามารถเคลื่อนที่ได้ ยกตัวอย่างเช่น โมบายเคลน รถติดเครน และ สิ่งอื่น ๆ ที่มีความคล้ายกัน และ สามารถที่จะเคลื่อนที่ได้

กฎหมายของการตรวจสองการรับน้ำหนักของปั่นจั่น

            การรับน้ำหนักของปั่นจั่นนั้นมีความสำคัญอย่างมาก และ มีการออกกฎหมาย มาอย่างชัดเจน เพื่อให้ควบคุมคุณภาพของการใช้งาน และ ความปลอดภัยของพื้นที่รอบข้าง โดยกำหนดมาตรฐานการบริหารและการจัดงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน เกี่ยวกับเครื่องจักร ปั่นจั่น และ หม้อน้ำในปี พ.ศ. 2564 โดยกฎหมายให้ทดสอบด้วยการยกน้ำหนัก ตามกฎหมายดังต่อไปนี้

  • ปั่นจั่นที่ใช้งานแล้ว : ปั่นจั่นที่ใช้งานแล้วจะทดสอบการรับน้ำหนักที่ 1.25 เท่าของน้ำหนักตัวที่ใช้จริงมากที่ แต่ต้องไม่เกิดนพิกันยกอย่างปลอดภัยตามที่ผุ้ผลิตที่กำหนดไว้ ในกรณที่ปั่นจั่นที่ใช้งานแล้ว แต่ไม่มีพิกัดการยกอย่างปลอดภัยจากผู้ผลิตนั้น ให้วิศกรเป็นผู้ทดสอบ และ กำหนดน้ำหนักในการยกทดสอบแทน
  • ปั่นจั่นที่ใช้งานแล้ว : จะต้องทอดสอบพิกัดการยกปั่นจั่นใหม่ขนาดไม่เกิน 20 ตัน และ ทดสอบการรับน้ำหนักที่ 1 เท่า แต่ต้องไม่เกิน 1.5 เท่า  ทดสอบพิกัดการยกมากกว่า 20 ตัน แต่ไม่เกิน 50 ตันให้ทดสอบรับน้ำหนักเพิ่มอีก 5 ตัน จากพิกัดการยกอย่างปลอยภัย

ซึ่งนอกจากที่กล่าวมานั้นการตรวจ ปจ.1 และ ปจ.2 นั้นยังมีการตรวจปั่นจั่นอื่น ๆ อีกด้วยเช่นกัน ซึ่งจะต้องมีการตรวจสอบให้ดี และ มีมาตรฐาน เพราะว่าการทอสอบนั้นหากว่าไม่ได้ผลที่เป็นมาตรฐาน และ ฝืนในการใช้งานนั้นจะส่งผลต่อความอันตรายอย่างมาก